Author Topic: รู้จักธรรมชาติของสัตว์ หลังความตาย ตอน ตะบาบ  (Read 11676 times)

Offline Phoenix

  • Administrator
  • เซียน
  • *****
  • Posts: 1551
จากสถานะกาณ์ ภัยพิบัติน้ำท่วม หลายจังหวัด ในปี 54 ที่เกิดขึ้นกับ พื้นที่ ภาคเหลือ ภาคกลาง อย่างหนักหน่วง... ทำให้ได้รู้หลายๆ อย่าง
วันนี้ขอเสนออย่างหนึ่งแบบแบ่งปันความรู้ และวิจารย์ร่วมกัน
หัวข้อนี้ เป็นเรื่อง โคตรพ่อโคตรแม่ ตะขาบที่หลายคนนำมาแชร์ใน fb กัน
จากรูปที่ได้เห็นก็เอามา วิจารณ์เล่นๆ ให้เพื่อนได้รู้กัน

วิจารย์จากรูปที่เห็น ใครมีความรู้ ช่วยวิจารย์ต่อหน่อยนะ

ปกติตะขาบในป่า ก็จะใหญ่พอสมควร (ความกว้างตัวรวมขาประมาณ 1 นิ้ว ยาวได้ ประมาณ 1 ฟุต หรือกว่านั้นเล็กน้อย)

วิจารย์จากรูป ลักษณะของตัวตะขาบ บวมผิดปกติ สันนิฐานว่า ตะขาบตัวนี้ จบน้ำ และตายมาแล้วหลายชั่วโมง ปกติ ตัวละขาบ จะไม่กลมเป่ง จนแทบแตก แต่จะ ตามหน้าตัดจะออกแนว 4 เหลี่ยมผื่นผ้า ครับ




ที่มา http://www.facebook.com/photo.php?fbid=248558291861638&set=a.167329586651176.47102.100001224061864&type=1&theater
ตามองดาว เท้าย่ำโคลน

Offline Phoenix

  • Administrator
  • เซียน
  • *****
  • Posts: 1551
วิเคราะห์จากโครงสร้าง
สัตว์เปลือกมีเปลือกแข็งกับเปลือกอ่อน ขอกล่าวถึงเฉพาะสัตว์ที่มีเปลือกแข็ง และขาหลายคู่
คือสัตว์ที่ไม่มีกระดูสันหลัง แต่มีเปลือกแข็งหุ้ม
เปลือกแข็งที่หุ้ม ก็มีแบบที่มีโครงแข็งทั้งตัว(หรือเปลือกแข็งมาก) และแบบที่มีโครงแข็งบางส่วน
โครงแข็งทั้งตัว ก็ เช่น ปู แมงดา กิ้งกือ สัตว์กลุ่มนี้จะพอง หรืออืดได้น้อย

โครงแข็งบางส่วน(ความแข็งของเปลือกแต่ละจุดไม่เท่ากัน บางจุดแข็งมาก บางจุดอ่อนตัวได้ แต่เข็งกว่าเนื้อภายใน) เช่น แมงป่อง ตะขาบ กุ้ง สัตว์กลุ่มนี้จะพอง หรืออีดได้มากกว่ากลุ่มแรก

ในกรณีของตะขาบมันบวมได้เกิน  2 เท่า  ของขนาดตัวปกติ
แล้วดูจากลักษณะนะ ตัวมันแข็งแล้ว ตัวงอ โค้งๆ (เป็นลักษณะการจมน้ำ)
ถ้าตายใหม่ๆ สัตว์ทุกชนิดจะตัวอ่อน (ยกเว้นการตายบางประเภทที่ เอ็นยึดตัวเกร็ง เช่นไปฟ้าแรงสูงช๊อต)
นี่เป็นคำวิจารณ์อธิบายง่ายๆ ตามแบบของผมที่ไม่ได้อ้างอิงตามหลักวิชาการ เน้นการทำความเข้าใจครับ
ตามองดาว เท้าย่ำโคลน